Page 340 - แผนปฏิบัติราชการ 65
P. 340
แผนปฏิบัติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ .ศ . 2565 หน้า -330-
6. หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2) พ.ศ. 2545 ได้ก าหนด
จุดมุ่งหมายหลักของการบริหารจัดการศึกษา ที่มุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐานในทุกระดับ โดยก าหนดรายละเอียดไว้
ในหมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบ
การประกันคุณภาพภายนอกก าหนดให้ทุกสถาบันการศึกษาจะต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษาโดยต่อเนื่อง
สอดคล้องกับภาวะที่เปลี่ยนแปลงไป ตามนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ท าให้หน่วยงานทาง
ด้านการศึกษามีการตื่นตัว เพื่อจัดท ามาตรฐานทางด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของตนเองส าหรับการประกัน
คุณภาพภายในนั้น หน่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษา จะต้องด าเนินการให้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหาร
การศึกษาที่กระท าอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนจัดท ารายงานเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชนเป็นประจ าทุกปีเพื่อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา เพื่อรับรองการประเมิน
คุณภาพภายนอก
โดย สถานศึกษาจะต้องมีการตรวจสอบการท างานของตนเอง (self-evaluation) โดยจะต้องประเมินตนเอง
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะน าไปสู่การปรับปรุงตนเองและพร้อมจะ ได้รับการตรวจสอบจากภายนอก
ระบบสารสนเทศนับว่ามีความส าคัญเป็นอย่างยิ่งส าหรับการช่วยงานในการรวบรวม วิเคราะห์ สรุปข้อมูล และ
น าเสนอให้กับผู้บริหารหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม เพื่อให้การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพรวดเร็ว และทันต่อการน าไปใช้งานจากการด าเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัย
อาชีวศึกษาสุพรรณบุรีที่ผ่านมา พบว่ามีการจัดเตรียมและจัดท าเอกสารในปริมาณที่สูงมากนอกจากนี้ยังมีข้อมูลที่ได้
จากการด าเนินการดังกล่าวเป็นจ านวนมากอีกด้วย ท าให้เกิดปัญหาในการควบคุมก ากับดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตาม
แผนงาน เนื่องจากวิทยาลัยมีการรวมการทางด้านนโยบาย และแยกการปฏิบัติ ซึ่งจะต้องด าเนินการตามห้วงเวลา
ที่ก าหนด หากไม่สามารด าเนินการได้ทันเวลา ก็จะไม่สามารถย้อนกลับมาเก็บข้อมูลภายหลังได้ นอกจากนี้ข้อมูลที่ได้
จากการประเมินก็ไม่สามารถน ามาจัดระเบียบให้อยู่ในรูปแบบที่น าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม เนื่องจากข้อมูล
ที่ได้จากการประเมินเป็นข้อมูลดิบ ต้องได้รับวิเคราะห์หรือสรุปผลก่อน จึงจะน ามาพิจารณาใช้ในการก าหนดแนว
ทางการด าเนินงานต่อไปได้ การวิเคราะห์และสรุปผลดังกล่าวในปัจจุบันด าเนินการได้ล่าช้าและมีความผิดพลาดสูง
เนื่องจากระบบสารสนเทศที่น ามาใช้งาน ไม่ได้มีการเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกัน ด าเนินการแยกเป็นส่วนๆ
โดยบางส่วนก็ด าเนินการด้วยมือ
ดังนั้น จึงควรมีระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ที่สามารถจัดระเบียบข้อมูลดังกล่าว
ในลักษณะวิเคราะห์และสรุปให้อยู่ในรูปแบบที่ง่ายในการพิจารณาน าไปใช้ประโยชน์ ก็จะเป็นการประหยัดทรัพยากร
ในการด าเนินงาน และช่วยให้การประกันคุณภาพการศึกษาระบบออนไลน์ของวิทยาลัยมีคุณภาพสูงขึ้น
สามารถจัดการระบบประกันคุณภาพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อไป
7. วัตถุประสงค์
7.1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอน มีความรู้ความเข้าใจในการประกันคุณภาพการศึกษาและเป็นส่วนหนึ่ง
ในขับเคลื่อนการด าเนินงานระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทั้งภายใน ภายนอก และนานาชาติ
7.2 เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอน มีความรู้เกี่ยวกับระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและกลไกการประกันคุณภาพ
การศึกษา โดยการใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในการบริหารจัดการตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ