Page 34 - 10
P. 34

26                                  10 การประกันคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน


                      จากคุณภาพมาตรฐานการอาชีวศึกษาข้างต้น จะเห็นได้ว่าการประกันคุณภาพของหลักสูตร

             และการจัดการเรียนการสอน ซึ่งมีองค์ประกอบในการประกันคุณภาพประกอบด้วยด้านหลักสูตรที่ยึด
             โยงกับมาตรฐานอาชีพ ด้านครู ทรัพยากรและการสนับสนุน ด้านวิธีการจัดการเรียนรู้ การวัดและ
             ประเมินผล และด้านผู้สำเร็จการศึกษา เป็นส่วนหนึ่งของคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษา

             ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561

             • แนวปฏิบัติการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา


                      ในการประกันคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา สถานศึกษา
             ต้องคำนึงถึงแนวปฏิบัติในการพัฒนาหลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรยนการสอนอย่าง
                                                                               ี
             มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ที่จะส่งผลให้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษามีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

             คุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน ดังนี้

                      1. การประเมินตองเปนกลไกที่มีประสิทธิภาพในการติดตามคุณภาพของหลักสูตรและการ

             จัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่องอยางนอย 1 ครั้ง ทุกวงรอบของการใชหลักสูตร เพื่อใหได้สารสนเทศ
                                                                                  ้
                                                ้
             สําหรับนำมาพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหมีความทันสมัย ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก สามารถ
             ตอบสนองความตองการของสังคมในการนำความรู้และทักษะไปใชประโยชนไดจริงและสามารถสราง
             ความพึงพอใจใหแกผูเกี่ยวของ สารสนเทศที่จะประเมินจะต้องสามารถรองรับการติดตามตรวจสอบ
             คุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ทั้งจากผูประเมินภายในและผู้ประเมินภายนอก จึง

             ควรใช้รูปแบบผสมผสานและเน้นการถามถึงประเด็นหลัก ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                      2. การออกแบบการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหได้

             ข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจําเปนตองคํานึงถึง
                        2.1 ตัวชี้วัด (indicator) หมายถึง ค่าหรือลักษณะที่สังเกตได ซึ่งบ่งบอกสภาพหรือ

             สะทอนคุณภาพของหลักสูตร ปัจจัยเบื้องต้น กระบวนการใชหลักสูตรและผลที่ไดจากการใชหลักสูตร ทั้ง
             ผลผลิตและผลลัพธของหลักสูตร
                        2.2 เกณฑ (criteria) หมายถึง คุณลักษณะหรือขอกําหนดที่เป็นคุณภาพ ความสําเร็จ

             หรือความเหมาะสมของหลักสูตร ปจจัยเบื้องตน กระบวนการใชหลักสูตรและผลที่ไดจากการใชหลักสูตร
                        2.3 มาตรฐาน (standard) หมายถึง คุณลักษณะหรือขอกําหนดที่ถือเปนคุณภาพ

             ความสําเร็จ หรือความเหมาะสมอันเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไป ซึ่งมักกำหนดโดยหนวยงานหรือองคกร
             ทางวิชาชีพ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39