Page 17 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 17

ฤดูฝน ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม

                        ฤดูหนาว ได้รับอิทธิพลมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์
                        1.4 ทรัพยากรธรรมชาต  ิ

                        ดน สภาพของดินในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี มีความเหมาะสมกับการท านา พืชไร่ ไม้ยืนต้น ไม้ผลต่าง ๆการปลูกหญ้า
                         ิ
                 เลี้ยงสัตว์ท าทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ถาวรส าหรับการปศุสัตว์ ซึ่งพิจารณาจากคุณสมบัติของดินทั้งกายภาพและเคมี ในด้านเนื้อดิน

                 ความลึกของดิน ความสามารถในการอุ้มน้ า ชนิดของแร่ดิน ดินเหนียวและปริมาณแร่ธาตุของดิน

                        แหล่งน้ า แม่น้ าสายส าคัญและเป็นประโยชน์ต่อความเป็นอยู่และเศรษฐกิจของประชากรในจังหวัดได้แก่ แม่น้ าท่าจีน
                 หรือแม่น้ าสุพรรณบุรี และห้วยกระเสียว แม่น้ าท่าจีนแยกจากแม่น้ าเจ้าพระยาที่อ าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ไหลลงทิศใต้

                                                                      ุ
                 เข้าสู่จังหวัดสุพรรณบุรี ที่อ าเภอเดิมบางนางบวชแล้วไหลผ่านอ าเภอสามชก อ าเภอศรีประจันต์ อ าเภอเมืองสุพรรณบุรี อ าเภอ
                 บางปลาม้า และอ าเภอสองพี่น้องตามล าดับ ปลายน้ าของแม่น้ าสายนี้จะไหลลงสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรสาคร ส่วนห้วยกระเสียว
                 เป็นสาขาที่ส าคัญของแม่น้ าสุพรรณบุรี เกิดจากล าน้ าต่าง ๆ ที่ไหลมาจากทางใต้อ าเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี และเขาพุค า

                 รวมทั้งเขาพระ ทุ่งดินด าตอนใต้ลงมา ทางน้ าเหล่านี้จะไหลมารวมกันที่ด้านตะวันตกของอ าเภอด่านช้าง กลายเป็นห้วยกระเสียว
                 แล้วไหลมาทางตะวันออกผ่านที่ราบสูงลงสู่แม่น้ าสุพรรณบุรี ที่อ าเภอสามชุก เป็นล าน าที่มีน้ าไหลตลอดปี

                        ป่าไม้ จังหวัดสุพรรณบุรีมีเนื้อที่ทั้งหมดจ านวน 3,348,755  ไร่ ถูกประกาศเป็นเขตป่าสงวนแห่งชาติจ านวน 7  แห่ง

                 เนื้อที่รวมกันทั้งหมด 825,102.52 ไร่ หรือร้อยละ 24.64 ของพื้นที่จังหวัด โดยมีพื้นที่ป่าธรรมชาติกระจายอยู่ทางตอนเหนือและ
                 ทางด้านตะวันตก ภายในเขตอ าเภอด่านชาง อ าเภอหนองหญ้าไซ อ าเภออู่ทอง และอ าเภอสองพี่น้อง ชนิดป่ามีตั้งแต่ป่าทุ่ง ป่า
                                               ้
                                                                                                    ิ
                                                                                                      ั
                 เต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ และป่าสนเขา ไม้ที่มีค่าทางเศรษฐกิจได้แก่ เต็ง รัง มะค่าโมง มะค่าแต้ พะยูง ชงชน ประดู่
                 ตะเคียนทอง ยมหอม เป็นต้น
                             ุ
                                                                                        ่
                        แรธาต จังหวัดสุพรรณบุรีมีปริมาณแร่ธาตุแต่ไม่มากนัก พบแร่ส าคัญบางชนิดเท่านั้น เชน ดีบุก พบบริเวณเขาโยตุง
                          ่
                                                                         ้
                 ทางตอนเหนือของอ าเภอด่านช้าง นอกจากนี้ยังพบใยหินแกรนิต และหินปูนใชในการก่อสร้างบริเวณเขาใหญ่ทางตะวันตก และ
                 เขาทางด้านตะวันออกและตะวันตก ระหว่างเส้นทางอู่ทองถึงอ าเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี รวมทั้งบริเวณเขื่อนกระเสียว
                          ้
                 อ าเภอด่านชาง กิจการด้านอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของจังหวัดสุพรรณบุรี จึงมีขอบเขตจ ากัด โดยจะมีเฉพาะการท าเหมืองแร่
                 หินปูน หินอุตสาหกรรมเท่านั้น

                        1.5 ด้านเศรษฐกิจ
                        จังหวัดสุพรรณบุรีถือได้ว่าเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีอาชพท าการเกษตรเป็นหลัก มีแหล่งน้ าธรรมชาติ การชลประทาน
                                                             ี
                 เหมาะสมแก่การเกษตร พื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ ได้แก่ อ าเภอเมืองสุพรรณบุรี อ าเภอบางปลาม้า การเกษตรกรรมส าคัญ ได้แก่ การ
                                                 ี
                                                                                          ี
                 กสิกรรม การท านา ท าสวน ท าไร่ เป็นอาชพหลักของประชากรมากกว่าร้อยละ 80  ดังนั้นอาชพที่ส าคัญของชาวจังหวัด
                 สุพรรณบุรี คือ การประกอบอาชีพการเกษตรกรรม มีการท านาข้าว การปลูกพืชไร่ ได้แก่ อ้อยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น

                 นอกจากนี้ยังมีอาชีพรับจ้างและการประกอบธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางบริการด้วย
                        1.6 ด้านสังคม

                        ประชากรในจังหวัดสุพรรณบุรีประกอบด้วยเชอชาติไทย พวน จีน ลาว กะเหรี่ยง โดยกระจัดกระจายอยู่ในท้องที่
                                                           ื้
                                                                                                        ื้
                 อ าเภอต่าง ๆ โดยชนกลุ่มน้อยที่ได้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่ในเขตสุพรรณบุรี ปัจจุบันได้มีการผสมกลมกลืนจนกลายเป็นคนเชอชาติ
                 ไทยในปัจจุบัน จังหวัดสุพรรณบุรีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 อ าเภอ 110 ต าบล 1,007 หมู่บ้าน



                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567    หน้า | 13
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22