Page 13 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 13

2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นสู่การปฏิบัติระดับพื้นที่ โดย

                 ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน ส านักงานศึกษาธิการภาคและส านักตรวจราชการและติดตามประเมินผล
                                        ่
                 สป. เป็นฝ้ายเลขานุการและผู้ชวยเลขานุการตามล าดับโดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับ
                 นโยบาย และจัดท ารายงานเสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
                 การจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามล าดับ

                        3. กรณีมีปัญหาในเชงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและด าเนินการแก้ไขปัญหาใน
                                       ิ
                 ระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อคณะกรรมการติดตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวง
                 ศึกษาธิการ และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตามล าดับ



                 5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2566 - 2570
                        เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด

                            “เกษตรกรรมยั่งยืน เศรษฐกิจเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี สังคมมีสุข”
                        ประเด็นการพัฒนา

                            ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมให้ได้มาตรฐาน เพื่อการ

                 แข่งขันทางการค้า และการพัฒนาที่ยั่งยืน
                               1) ส่งเสริมเทคโนโลยี นวัตกรรม การผลิต และพัฒนาศักยภาพผลิตผล/ผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร/OTOP/

                 เกษตรอุตสาหกรรม ให้มีคุณภาพ ปลอดภัยได้มาตรฐาน เพื่อเพิ่มมูลค่าและ ใช้ทรัพยากรทางการเกษตรอย่างยั่งยืน

                               2) พัฒนาและส่งเสริมสุพรรณบุรีเป็นเมืองสมุนไพรอย่างยั่งยืนและครบวงจร
                               3) ส่งเสริมและพัฒนาตลาดสินค้าเกษตร/เกษตรแปรรูป/สินค้า OTOP/สินค้าแบรนด์ ของจังหวัดสุพรรณบุรี

                 และส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ SMEs/Start Up/OTOP/วิสาหกิจชุมชน/กลุ่มธุรกิจเพื่อสังคม (SE) ด้วย BCG โมเดล

                               4) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาสินค้าเกษตร และเกษตรอุตสาหกรรม
                                                                                                           ี
                                                                            ื่
                                                                                          ์
                            ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวและการกีฬา เพอส่งเสริมอัตลักษณของจังหวัดสุพรรณบุร
                               1) พัฒนาสินค้า บริการและบุคลากรด้านการท่องเที่ยวให้มีความหลากหลายบนอัตลักษณ์ พื้นถิ่นของชุมชน
                 และจังหวัดที่ได้มาตรฐาน
                               2) พัฒนาปัจจัย/โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ านวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวให้เพียงพอและ ได้มาตรฐาน

                               3) ส่งเสริมการพัฒนาการท่องเที่ยวสู่เมืองสร้างสรรค์เพื่อคนทั้งมวล (Tourism for all) และการท่องเที่ยววิถ ี
                 ใหม่ (New-next normal)

                               4) ส่งเสริมการจัดการแข่งขันกีฬาตั้งแต่ระดับชุมชนถึงระดับประเทศตลอดจนระดับนานาชาติ และส่งเสริม

                 การท่องเที่ยวเชิงกีฬา
                               5) ยกระดับศักยภาพด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงรุก

                               6) พัฒนาการบริหารจัดการการท่องเที่ยวแบบครบวงจร ด้วย BCG Model







                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567     หน้า | 9
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18