Page 16 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 16

บทที่ 2

                                          ข้อมลพื้นฐานของวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี
                                              ู


                 1. ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
                                        ์
                        1.1 สภาพภูมิศาสตร
                        สุพรรณบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งใน 25   จังหวัดของภาคกลางด้านตะวันตกของประเทศไทย ทางทิศตะวันตก

                 เฉียงเหนือของกรุงเทพฯ มีพื้นที่ราบลุ่มตามแนวล าน้ าท่าจีน ส่วนใหญ่เป็นนาไร่และป่า ประชากรประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม
                 ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปทางทิศเหนือเป็นที่ราบ มีภูเขาบ้างเป็นบางตอนในท้องที่เดิมบางนางบวช และอู่ทอง แต่เป็นภูเขา

                 เล็ก ๆ ส่วนตอนใต้เป็นที่ราบลุ่ม โดยตลอดทางทิศตะวันตกและทิศเหนือมีป่าและภูเขามากในเขตอ าเภอด่านชาง จังหวัด
                                                                                                    ้
                 สุพรรณบุรี ตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 14 องศา 4 ลิปดาเหนือ ถึง 15 องศา 5 ลิปดาเหนือ และระหว่างเส้นแวง 90 องศา 17 ลิปดา
                 ตะวันออก ถึง 100  องศา 16  ลิปดาตะวันออก อยู่สูงจากระดับน้ าทะเลปานกลาง 3-10  เมตร มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ

                 5,358.008 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 3,348,755 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.2 ของพื้นที่ภาคกลาง อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร

                 ประมาณ 107 กิโลเมตร (ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340) โดยทางรถไฟประมาณ 142 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับ
                 จังหวัดใกล้เคียง คือ ทิศเหนือติดต่อจังหวัดชยนาทและจังหวัดอุทัยธานี  ทิศตะวันออกติดต่อจังหวัดอ่างทอง จังหวัด
                                                   ั
                 พระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสิงห์บุรี ทิศใต้ติดต่อจังหวัดนครปฐม และทิศตะวันตกติดต่อจังหวัดกาญจนบุรี

                        1.2 สภาพภูมิประเทศ
                        พื้นที่ของจังหวัดสุพรรณบุรีจ าแนกลักษณะตามระดับความสูงของพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มเป็นส่วนใหญ่ และบางส่วนเป็นที่

                 ราบสูง โดยมีความลาดเทระหว่าง 0-3 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอยู่ทางด้านตะวันออกของจังหวัดตลอดแนวตั้งแต่เหนือจรดใต้บริเวณพื้นที่
                 ต่ าสุดอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ พื้นที่ของจังหวัดส่วนใหญ่เหมาะส าหรับการท านา มีแม่น้ า ล าคลอง หนอง บึงอยู่ทั่วไปมีแม่

                 น้ าท่าจีน หรือแม่น้ าสุพรรณบุรีเป็นแม่น้ าสายส าคัญที่ไหลผ่านจากเหนือสุดถึงใต้สุดในฤดูฝนจะมีน้ าหลากไหลบ่ามีน้ าท่วมขัง ใน

                 ที่ราบลุ่มท าให้เกิดน้ าท่วมในบางท้องที่เช่นในเขตอ าเภอสองพี่น้องและอ าเภอบางปลาม้าด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในเขตอ าเภออู่
                 ทองทอดขึ้นไปทางเหนือ ขนานกับเส้นกั้นเขตแดน ระหว่างจังหวัดสุพรรณบุรีกับจังหวัดกาญจนบุรี มีลักษณะพื้นที่ลูกคลื่นลอน

                 ลาด มีความลาดเทระหว่าง 2-8  เปอร์เซ็นต์ สลับกับเนินเขาส่วนด้านตะวันตก ของอ าเภอด่านชาง มีสภาพพื้นที่ที่เป็นลูกคลื่น
                                                                                       ้
                 ลอนลาดสลับลอนชั้น จนถึงเทือกเขาสูงชันเป็นเทือกเขาที่ติดกับเทือกเขาตะนาวศรี ประกอบด้วยภูเขาสูง ซึ่งมีลักษณะเป็นภูเขา
                 และมียอดเขาสูงสุดอยู่ ใกล้กับบ้านห้วยดินด าสูงประมาณ 1,002 เมตร เหนือระดับน้ าทะเลปานกลาง

                        1.3 สภาพภูมิอากาศ
                        สภาพอากาศโดยทั่วไปมีลักษณะร้อนชื้น กล่าวคือ ฤดูร้อนได้รับอิทธิพลจากลมตะวันออกเฉียงเหนือและลมฝ่ายใต้ พัด

                 ผ่านตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดูฝน ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ตั้งแต่กลางเดือน

                 พฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม และฤดูหนาว ได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึง
                 กลางเดือนกุมภาพันธ์

                        ฤดรอน ได้รับอิทธิพลจากลมตะวันออกเฉียงเหนือและลมฝ่ายใต้พัดผ่าน ตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน
                           ้
                          ู
                 เมษายน อุณหภูมิ 40.3 องศาเซลเซียส



                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567    หน้า | 12
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21