Page 11 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 11

เรื่องที่ 2 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบด้วยประเด็นปฏิรูป 3 ประเด็น ได้แก่

                 สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา การปรับปรุงโครงสร้างของ
                 กระทรวงศึกษาธิการ

                                                    ั
                                   ิ
                        6.  ระบบบรหารจัดการและการพฒนาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของแต่ละหน่วยงานในสังกัด
                 กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ าซ้อนในการจัดฝึกอบรมให้แต่ละกลุ่มเป้าหมายและใช้ประโยชน์จากสถาบันพัฒนาที่มี
                 อยู่แล้ว เช่น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยงานกลาง ในการจัดฝึกอบรมพัฒนาทักษะ

                 สมรรถนะให้แก่บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ ผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับผู้บริหารสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู
                 อาจารย์ และบุคลากรอื่น ๆ) รวมทั้งพัฒนายกระดับให้เป็นสถาบันฝึกอบรมระดับนานาชาติ

                        7. การประชาสัมพันธ์ โดยจัดตั้งศูนย์ประชาสัมพันธ์ของกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานสังกัดส านักงานปลัดกระทรวง

                 ศึกษาธิการ ด าเนินการผลิตสื่อและจัดท าเนื้อหา (Content)  เพื่อเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมและการเข้าร่วมงานต่าง ๆ ของทุก
                 หน่วยงานในภาพรวมของ ศธ.

                        8. การพัฒนาเด็กปฐมวัย ด าเนินการขับเคลื่อนนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ส าหรับเด็ก
                 ปฐมวัย

                        9. การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการส่งเสริมโครงการ 1 ต าบล 1 โรงเรียนคุณภาพ

                        10. การรบเรองราวรองทุกข์ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการน าเทคโนโลยีมาใชในการบริหารจัดการ
                                        ้
                                                                                             ้
                                  ื่
                               ั
                 เชน การยกระดับตอบรับอัตโนมัติเพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Call Center ด้านกฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
                   ่
                 เพื่อการบริหารจัดการการรับเรื่องราวร้องทุกข์ในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ
                        11. การปฏิรูปองค์กรและโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ
                        12. การพัฒนาครู ในสาขาวิชาต่าง ๆ เพื่อให้มีมาตรฐานวิชาชีพที่สูงขึ้น

                        13. การศึกษายกก าลังสอง โดย

                                                                                    ี
                             - พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จ าเป็น เพื่อท าหน้าที่วิทยากรมืออาชพ (Train the Trainer) และขยาย
                 ผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center: HCEC)

                             - จัดการเรียนรู้ตลอดชวิตผ่านเว็บไซต์ www.deep.go.th โดยปลดล็อคและเปิดกว้างให้ภาคเอกชนสมารถเข้า
                                             ี
                 มาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลาย และตลอดเวลาผ่าน
                 แพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP)

                            - ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence
                 Individual Development Plan: EIDP)

                                                                                  ี่
                             - จัดท า "คู่มือมาตรฐานโรงเรียน" เพื่อก าหนดให้ทุกโรงเรียนต้องมีพื้นฐานทจ าเป็น
                        การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
                            - มุ่งเน้นการศึกษาเพื่อทักษะอาชพและการมีงานท าด้วยคุณภาพ โดยสร้างค่านิยมอาชวศึกษา และเติมเต็ม
                                                     ี
                                                                                             ี
                                                                    ี
                 ช่องว่างระหว่างทักษะ (Full fil Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชวศึกษาทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน เน้นร่วมมือกับสถาน
                                                                               ี
                           ั้
                 ประกอบการชนน า (Tailor-made  Curriculum)  ขับเคลื่อนความร่วมมือการจัดการอาชวศึกษาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนสู่
                 มาตรฐานนานาชาติ


                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567     หน้า | 7
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16