Page 7 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 7

3. นโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา

                       1. ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย
                            1.1 จัดให้มีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพ เพื่อสร้างคน

                 ไทยที่มีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวที่อบอุ่นในทุกรูปแบบครอบครัว เพื่อส่งต่อการพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพสู่
                 การพัฒนาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วยเหลือที่ค านึงถึงศักยภาพของครอบครัวและพื้นที่ เตรียมความพร้อมการเป็นพ่อ

                 แม่ ความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพ การอบรมเลี้ยงดู การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการสาธารณะที่

                 เกี่ยวข้องโดยเฉพาะ การยกระดับคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทั่วประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
                 ทางการศึกษาและผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ

                           1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยค านึงถึงพหุปัญญาที่หลากหลายของเด็กแต่ละคน ให้ได้รับการส่งเสริม

                 และพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับระบบโรงเรียนปกติที่เป็นระบบและมีทิศทาง
                 ที่ชัดเจน

                        2. พัฒนาบัณฑิตพันธุ์ใหม่
                            2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรู้และการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและอาชีพของคนทุกช่วงวัยส าหรับศตวรรษที่ ๒๑ โดย

                 ปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการน าเทคโนโลยีและการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริงเข้ามามีส่วนในการจัดการ

                 เรียนการสอน และปรับระบบดึงดูด การคัดเลือก การผลิตและพัฒนาครู ที่น าไปสู่การมีครูสมรรถนะสูงเป็นครูยุคใหม่ที่สามารถ
                 ออกแบบและจัดระบบการสร้างความรู้ สร้างวินัย กระตุ้น และสร้างแรงบันดาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการ

                 สอนในเชิงแสดงความคิดเห็นให้มากขึ้นควบคู่กับหลักการทางวิชาการ

                                           ิ
                            2.2 จัดการศึกษาเชงบูรณาการกับการท างานเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งในส่วนฐานความรู้และระบบ
                 ความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศในอนาคต และเป็นผู้เรียนที่สามารถปฏิบัติได้จริงและ

                 สามารถก ากับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถึงมีทักษะด้านภาษาอังกฤษและภาษาที่สามที่สามารถสื่อสารและแสวงหาความรู้ได้

                 มีความพร้อมทั้งทักษะความรู้ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน
                        3. พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม 4.0

                            โดยการจัดระบบและกลไกความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ชดเจนเป็นระบบในการพัฒนา
                                                                                       ั
                                                             ้
                 ก าลังคนที่มีทักษะขั้นสูงให้สามารถน าความรู้และทักษะมาใชในการแก้ไขปัญหา รวมถึงการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ซึ่งต้อง
                 ครอบคลุมการพัฒนาก าลังคน  ที่อยู่ในอุตสาหกรรมแล้ว ก าลังคนที่ก าลังจะเข้าสู่อุตสาหกรรม และเตรียมการส าหรับผลิต

                 ก าลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพื่อรองรับอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีในอนาคต รวมทั้งเร่งรัดและขยายผลระบบคุณวุฒิวิชาชพ
                                                                                                           ี
                 การยกระดับฝีมือแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น

                        4. ดึงดูดคนเก่งจากทั่วโลกเข้ามาร่วมท างานกับคนไทย และส่งเสริมผู้มีความสามารถสูง

                            สนับสนุนให้ธุรกิจชนน าในประเทศดึงดูดบุคคลที่มีความสามารถระดับสูงจากทั่วโลก โดยเฉพาะคนไทยเพื่อ
                                           ั้
                 กลับมาเป็นผู้น าการเปลี่ยนแปลงและถ่ายทอดประสบการณ์ความรู้ ความเชี่ยวชาญให้แก่บุคลากรในองค์กร ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้

                 เกิดการสร้างธุรกิจ ผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับประเทศ โดยในระยะแรกให้ความส าคัญกับการดึงดูดนักวิจัยผู้เชี่ยวชาญ

                                                         ั้
                 จากต่างประเทศมาร่วมวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชนแนวหน้า ในสาขาอุตสาหกรรมเป้าหมายรวมทั้งมีพื้นที่ให้กลุ่มผู้มี
                 ความสามารถพิเศษที่มีศักยภาพสูงได้ท างานร่วมกัน เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ ให้กับประเทศ



                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567     หน้า | 3
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12