Page 9 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 9

เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาในพื้นที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถ แต่ไม่มีทุนทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจน

                 แก้ไขปัญหาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และทบทวนรูปแบบการให้กู้ยืมเพื่อ
                 การศึกษาที่เหมาะสม

                                            ี
                            6.4 พัฒนาทักษะอาชพทุกชวงวัย โดยก าหนดระบบที่เอื้อต่อการพัฒนาทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพของทุก
                                                 ่
                                                                               ี
                                                          ื่
                 ช่วงวัย อาทิ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เชอมโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพื่อ
                                                       ั
                 เทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนที่ชดเจน ส่งเสริมเยาวชนที่มีศักยภาพด้านกีฬาให้สามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬา
                                                                                                      ี
                 อาชพ การก าหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดให้มีระบบที่สามารถรองรับความต้องการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชพของทุก
                    ี
                                                                            ี่
                 ช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนสายอาชีพให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานทอาจจะเปลี่ยนไปตามแนวโน้มความก้าวหน้า
                 ทางเทคโนโลยีในอนาคต

                            6.5 ส่งเสริมหลักคิดที่ถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัยและอุดมการณ์ที่ถูกต้องของคนในชาติ หลักคิดที่
                 ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะการเคารพกฎหมาย และกติกาของสังคมเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุก

                 กิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไกสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวในทุกมิติอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
                 ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เอื้อต่อการมีคุณธรรมจริยธรรมและจิตสาธารณะ รวมทั้งลงโทษ

                 ผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการขับเคลื่อนประเทศ

                        7. จัดท าระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น
                            เน้นออกแบบหลักสูตรระยะสั้น ตามความสนใจ พัฒนาทักษะต่างๆ ที่ใชในการด ารงชวิตประจ าวันและทักษะ
                                                                                 ้
                                                                                           ี
                 อาชีพของคนทุกช่วงวัยในพื้นที่และชุมชนเป็นหลัก พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนาเป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซึ่งเป็นการ

                 เรียนเก็บหน่วยกิตของวิชาเรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนข้ามสาขาวิชาและข้ามสถาบันการศึกษาหรือท างานพร้อมกัน หรือ
                 เลือกเรียนเฉพาะหลักสูตรที่สนใจ เพื่อสร้างโอกาสของคนไทยทุกชวงวัยและทุกระดับสามารถพัฒนาตนเองทั้งในด้านการศึกษา
                                                                ่
                 และการด ารงชีวิต


                 4. นโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                        หลักการตามนโยบาย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                                    ั
                        1. ปลดล็อก ปรบเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการบริหารจัดการและการพัฒนาก าลังคนโดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อ
                 หลอมรวมภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ เพื่อเพิ่ม

                 ประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการน าเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการบริหารงานและการจัดการศึกษา
                        2. ปลดล็อก ปรบเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัด
                                     ั
                 การศึกษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สมารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21

                                                           ื่
                                     ั
                        3. ปลดล็อก ปรบเปลี่ยน เปิดกว้าง ที่เป็นเงอนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบายการศึกษายกก าลังสอง
                                                   2
                 (Thailand  Education  Eco  -  System:  TE S)  การศึกษาที่เข้าใจ Supply  และตอบโจทย์ Demand  โดยให้ทุกหน่วยงาน
                                                                              ั้
                 พิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันอย่างรอบด้าน ครบถ้วนร่วมกันพิจารณาหาแนวทาง ขนตอน และวิธีการด าเนินการร่วมกันแบบ
                 บูรณาการการท างานทุกภาคส่วน




                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567     หน้า | 5
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14