Page 8 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 8

5. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ

                                                                                                       ี
                            5.1 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ าและความยากจน ยกระดับคุณภาพชวิตของ
                                                  ิ
                                                                                   ่
                 ประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชงสังคมและนวัตกรรมในเชงพื้นที่ที่สามารถชวยแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ า สร้าง
                                                                      ิ
                 โอกาสส าหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนุษย์ให้พร้อมส าหรับโลกยุคดิจิทัลและ
                 อุตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสมได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยระยะแรกจะให้ความส าคัญกับ การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา

                 ด้านสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร ทั้งระบบยาวัคซีน เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย

                            5.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อสร้างความได้เปรียบใน
                 การแข่งขัน สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของประเทศในอนาคต  โดยมุ่งเน้นการวิจัยและ

                                                       ิ
                 พัฒนานวัตกรรมเพื่อน ามาใชให้เกิดประโยชน์ในเชงธุรกิจ ก าหนดวาระการวิจัยแห่งชาติ ส่งเสริมความร่วมมือและการเป็น
                                       ้
                 หุ้นส่วนของทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ชมชน และภาคเอกชนในทุกสาขาการผลิตและบริการ สร้างสภาพแวดล้อมและ
                                                   ุ
                 องค์ประกอบของระบบวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมให้เข้มแข็ง รวมทั้งบูรณาการการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมกับการน าไปใช ้

                 ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
                            5.3 สร้างเครือข่ายการท าวิจัยระหว่างภาคส่วนต่างๆ ปฏิรูปและบูรณาการระบบการเรียนการสอนกับระบบงาน

                 วิจัยและพัฒนา ให้เอื้อต่อการเพิ่มศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจไทยทุก

                 ระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการการท างานของภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์
                 เทคโนโลยี นวัตกรรมให้เป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการ การท างานกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเชื่อมโยงระบบการศึกษา

                 กับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างนักวิจัยมืออาชพและนวัตกรรมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและ
                                                                         ี
                 ยกระดับงานวิจัยสู่การเพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ
                        6. ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย

                            6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุก

                 ระดับบนพื้นฐานการสนับสนุนที่ค านึงถึงความจ าเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษา แต่ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มีมาตรฐาน
                 ขั้นต่ าของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียน และครูที่สะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน คืนครู

                 ให้นักเรียนโดยลดภาระงานที่ไม่จ าเป็น รวมถึงจัดให้มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยการเชอมโยงหรือส่ง
                                                                                                  ื่
                                                                                      ี
                                                                                                      ่
                                                                                   ่
                 ต่อข้อมูลครอบครัวและผู้เรียนระหว่างหน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดชวงชวิต ตลอดจนพัฒนาชองทางให้
                 ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
                            6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
                 สร้างสรรค์ที่เหมาะสมมาใชในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความ
                                     ้
                 สนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้และอุทยานการเรียนรู้ส าหรับเยาวชนที่เชื่อมโยงเทคโนโลยีกับวิถีชวิต
                                                                                                          ี
                 และส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมส าหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
                            6.3 ลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โดยบูรณาการการด าเนินงานระหว่างหน่วยจัดการศึกษากับกองทุนเพื่อ

                 ความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยน การจัดสรรงบประมาณ

                 ให้สอดคล้องกับความจ าเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา จัดระบบโรงเรียนพี่เลี้ยงจับคู่ระหว่างโรงเรียนขนาด
                 ใหญ่ที่มีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชมชนในพื้นที่
                                                                                                   ุ


                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567     หน้า | 4
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13