Page 12 - 3
P. 12
3 การพัฒนาหลักสูตรเพิ่มเติมและการขออนุมัติเปิดสอน 5
กรอบโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563
โครงสร้างหลักสูตร เกณฑ์มาตรฐานฯ ปวส. หลักสูตรแกนกลาง สอศ.
1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 18 นก. ไม่น้อยกว่า 21 นก.
1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย ไม่นอยกว่า 3 นก.
้
1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ ไม่นอยกว่า 6 นก.
้
1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ไม่นอยกว่า 3 นก.
้
1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ ไม่นอยกว่า 3 นก.
้
1.5 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ ไม่นอยกว่า 3 นก.
้
้
1.6 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ไม่นอยกว่า 3 นก.
2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 นก. ไม่น้อยกว่า 56 นก.
2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน ไม่นอยกว่า 15 นก. 15 นก.
้
2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ไม่นอยกว่า 21 นก. 21 นก.
้
้
2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก ไม่นอยกว่า 12 นก. ไม่นอยกว่า 12 นก.
้
2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 นก. 4 นก.
2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4 นก. 4 นก.
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 นก. ไม่น้อยกว่า 6 นก.
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร - นก. - นก.
รวมระหว่าง 80-90 นก. 83-90 นก.
6. การจัดรายวิชาในหมวดวิชา กลุ่มและกลุ่มวิชา ทั้งรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือกใน
ึ
หลักสูตรจะต้องมีความสัมพันธ์สอดคล้องกับมาตรฐานการศกษาวิชาชีพของสาขาวิชาและสาขางาน โดย
แต่ละรายวิชาจะมีองค์ประกอบสำคัญตามรูปแบบและเกณฑ์การเขียนที่หลักสูตรฐานสมรรถนะกำหนด
คือ รหัสวิชา ชื่อวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ชั่วโมงเรียนภาคทฤษฎี (ท) ชั่วโมงเรียนภาคปฏิบัติ (ป)
จำนวนหน่วยกิต (น) รายวิชาที่ต้องเรียนก่อน (ถ้ามี) จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและ
คำอธิบายรายวิชา
• เงื่อนไขการพัฒนาปรับปรุง อนุมัติ ประกาศใช้และรับรองหลักสูตร
1. ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 และประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน
คุณวุฒิอาชีวศึกษาคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2562 ได้กำหนดเงื่อนไข
ในการพัฒนา ปรับปรุง อนุมัติ ประกาศใช้และรับรองหลักสูตร ซึ่งสรุปได้ดังนี้