Page 13 - แผนปฏิบัติราชการ 66
P. 13
ั
แผนปฏิบติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน้า -3-
้
สร้างโอกาสส าหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนุษย์ใหพร้อมส าหรับโลก
้
ยุคดิจิทัลและอตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสมได้อย่างเป็นรูปธรรมโดยระยะแรกจะใหความส าคัญกับ การส่งเสริม
ุ
การวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของประชาชนอย่างครบวงจร ทั้งระบบยาวัคซีน เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
5.2 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อสร้าง
ความได้เปรียบในการแข่งขัน สามารถตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง และสร้างความเป็นเลิศของประเทศในอนาคต
้
โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อน ามาใช้ใหเกิดประโยชน์ในเชิงธุรกิจ ก าหนดวาระการวิจัยแหงชาติ ส่งเสริม
่
ุ้
ความร่วมมือและการเป็นหนส่วนของทุกฝ่ายทั้งภาครัฐ ภาคการศึกษา ชุมชน และภาคเอกชนในทุกสาขาการผลิตและ
บริการ สร้างสภาพแวดล้อมและองค์ประกอบของระบบวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมให้เข้มแข็ง รวมทั้งบูรณาการการวิจัย
และพัฒนานวัตกรรมกับการน าไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
5.3 สร้างเครือข่ายการท าวิจัยระหว่างภาคส่วนต่างๆ ปฏิรูปและบูรณาการระบบการเรียนการสอนกับ
ระบบงานวิจัยและพัฒนา ให้เอื้อต่อการเพิ่มศักยภาพด้านนวัตกรรมของประเทศ เพื่อสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งของ
ธุรกิจไทยทุกระดับในเวทีการค้าโลก ส่งเสริมกระบวนการการท างานของภาครัฐและภาคเอกชนในการวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมใหเป็นระบบเปิด และมีการบูรณาการ การท างานกันอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง
้
เชื่อมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างนักวิจัยมืออาชีพและนวัตกรรมที่
สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับงานวิจัยสู่การเพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ
6. ส่งเสริมกำรเรียนรู้และพัฒนำทักษะทุกช่วงวัย
6.1 มุ่งเน้นการพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาใน
้
ทุกระดับบนพื้นฐานการสนับสนุนที่ค านึงถึงความจ าเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษา แต่ละแหง พร้อมทั้งจัดใหมี
่
มาตรฐานขั้นต่ าของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียน และครูที่สะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิด
้
้
กับผู้เรียน คืนครูใหนักเรียนโดยลดภาระงานที่ไม่จ าเป็น รวมถึงจัดใหมีระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครัวและผู้เรียนระหว่างหน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงการพัฒนาตลอดช่วง
ชีวิต ตลอดจนพัฒนาช่องทางให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมใหมีการน าเทคโนโลยีสารสนเทศและ
้
การสร้างสรรค์ที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดที่หลากหลาย เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตาม
ความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้และอทยานการเรียนรู้ส าหรับเยาวชนที่เชื่อมโยง
ุ
เทคโนโลยีกับวิถีชีวิต และส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมส าหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
6.3 ลดความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา โดยบูรณาการการด าเนินงานระหว่างหน่วยจัดการศึกษากับกองทุน
เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบการศึกษา ปรับเปลี่ยน
การจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับความจ าเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถานศึกษา จัดระบบโรงเรียนพี่เลี้ยง
จับคู่ระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่ที่มีคุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาดเล็กเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา และการ
ส่งเสริมใหภาคเอกชน ชุมชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบการศึกษาในพื้นที่ สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถ
้
แต่ไม่มีทุนทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนแก้ไขปัญหาหนี้สินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหนี้กองทุนเงินใหกู้ยืม
้
เพื่อการศึกษา และทบทวนรูปแบบการให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่เหมาะสม
6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยก าหนดระบบที่เออต่อการพัฒนาทักษะและเพิ่มประสิทธิภาพของ
ื้
ทุกช่วงวัย อาทิ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาใหเชื่อมโยงกับระบบคุณวุฒิวิชาชีพ โดยมีกลไกการวัดและ
้
ประเมินผลเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนที่ชัดเจน ส่งเสริมเยาวชนที่มีศักยภาพด้านกีฬา
้
ใหสามารถพัฒนาไปสู่นักกีฬาอาชีพ การก าหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดใหมีระบบที่สามารถรองรับความต้องการ
้