Page 18 - แผนปฏิบัติราชการ 66
P. 18
ั
แผนปฏิบติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน้า -8-
1.5 ปรับรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนรู้อาชีพ (Module) และการเรียนรู้คู่การปฏิบัติ (Work Based Learning)
ภายใต้หลักคิด “ลดเวลาเรียนทฤษฎี เพิ่มเวลาฝึกประสบการณ์”
1.6 พัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพและทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง
1.7 ขยายและยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (มุ่งเป้าทวิภาคี 50%)
1.8 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนทั้ง Soft Skill และ Hard Skill โดยยึดหลัก “คุณธรรมน าทักษะอาชีพ”
1. พัฒนาทักษะทางภาษาและดิจิทัลให้กับครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้เรียน
1.10 เพิ่มสมรรถนะผู้เรียนสู่ก าลังคนสมรรถนะสูง ด้วยการสร้างผลงานสร้างสรรค์ งานวิจัย และนวัตกรรมอาชีวศึกษา
1.11 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้เรียน “มีอาชีพ มีรายได้ มีงานท า มีเงินฝาก”
1.12 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็ก
1.13 พัฒนาสื่อและครุภัณฑ์การศึกษาที่ทันสมัย ตอบโจทย์การศึกษาปัจจุบันและอนาคต
2. ยกระดับควำมร่วมมือ (Cooperation)
2.1 สร้างความเข้มแข็งภาคีเครือขายความร่วมมือคุณภาพสูง เพื่อการระดมทรัพยากรและยกระดับคุณภาพการ
่
อาชีวศึกษา
2.2 สร้างพลังร่วมในการจัดการอาชีวศึกษา กับภาคีเครือข่ายความร่วมมือ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
2.3 สร้างความเข้มแข็งให้กับ อ.กรอ.อศ. เพื่อเป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนและยกระดับคุณภาพการจัดการ
อาชีวศึกษา
2.4 พัฒนาและสร้างแรงจูงใจในการท าความร่วมมือกับภาคเอกชน เพื่อเพิ่มความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคีคุณภาพสูง
2.5 สร้างและพัฒนาความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายการจัดการศึกษาในภาครัฐ เพื่อการผลิตและพัฒนาก าลังคน
สมรรถนะสูงให้ตอบโจทย์ประเทศ
3. ขยำยโอกำสกำรอำชีวศึกษำ (Equity)
3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาระดับอาชีวศึกษา อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันและ
จัดการอาชีวศึกษาที่มุ่งตอบสนองความต้องการเชิงพื้นที่ในทุกรูปแบบ
3.2 ขับเคลื่อนระบบการอาชีวศึกษาให้เอื้อต่อผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายและช่วงวัย การจัดอาชีวศึกษาให้เป็นระบบเปิด
(Open Entry Open Exit) โดยให้ความส าคัญกับระบบสะสม เทียบโอน และธนาคารหน่วยกิต (Credit Bank)
3.3 เสริมสร้างความเข้มแข็งและต่อเนื่องให้กับโครงการอาชีวะอยู่ประจ า เรียนฟรี มีอาชีพ และโครงการอาชีวะสร้าง
ช่างฝีมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส
3.4 สร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ าในการเข้าถึงการอาชีวศึกษาด้วยโครงการทวิศึกษาแนวใหม
ิ
3.5 ขยายและยกระดับคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษาส าหรับผู้มีความต้องการและจ าเป็นพเศษ
3.6 ขับเคลื่อนการต่อยอดสมรรถนะวิชาชีพก าลังคน (Up-skilling Re-skilling) ด้วยระบบที่ยึดหยุ่นและหลากหลาย
4. สร้ำงภำพลักษณ์อำชีวศึกษำ (Image)
4.1 เสริมสร้างภาพลักษณ์คุณค่าอาชีวศึกษาและจิตอาสา ด้วยแนวคิด “อาชีวะ ช่วยประชาชน”
4.2 สื่อสาร สร้างการรับรู้และประชาสัมพันธ์เชิงรุก อย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและหลากหลายช่องทาง
4.3 น าหลักการ Soft Power มาเป็นกลไกในการสื่อสารอาชีวศึกษาสู่สังคม
4.4 เผยแพร่ผลการด าเนินงานและการขับเคลื่อนการอาชีวศึกษาในมิติต่าง ๆ สู่สาธารณะ ผ่านรายการ R-Channel
4.5 พลิกโฉมภาพลักษณ์อาชีวศึกษาด้วยการบูรณาการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และองค์ความรู้อาชีวศึกษาสู่ชุมชน
สังคม ประเทศชาติ และนานาชาติ(OVEC Show & Share)
4.6 ยกระดับและให้ความส าคัญกับการให้บริการประชาชน ในทุกกระบวนการปฏิบัติงาน