Page 16 - แผนปฏิบัติราชการ 66
P. 16
แผนปฏิบติราชการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน้า -6-
ั
3.4 พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว (Home School) และการเรียนรู้ที่บ้าน
เป็นหลัก (Home-based Learning)
4. กำรศึกษำเพื่อพัฒนำทักษะอำชีพและเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น แบบโมดูล (Modular System) มีบูรณาการวิชา
สามัญและวิชาชีพในชุดวิชาชีพเดียวกัน เชื่อมโยงการจัดการอาชีวศึกษาทั้งในระบบ นอกระบบ และระบบทวิภาคี รวมทั้ง
การจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่อง (Block Course) เพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ร่วมมือกับสถานประกอบการ
ในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพื่อการมีงานท า
4.2 ขับเคลื่อนการผลิตและพัฒนาก าลังคนตามกรอบคุณวุฒิแหงชาติ และยกระดับสมรรถนะก าลังคนตาม
่
กรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และมาตรฐานสากล รวมทั้งขับเคลื่อนความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center)
โดยความร่วมมือกับภาคเอกชนและสถานประกอบการในการผลิตก าลังคนที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ
4.3 พัฒนาสมรรถนะอาชีพที่สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจ โดยการ Re-skill Up-skill และ New skill
้
เพื่อใหทุกกลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบหลากหลายใหครอบคลุม
้
ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งผู้สูงอายุ โดยมีการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วงงายที่เกี่ยวข้อง
4.4 ส่งเสริมการพัฒนาแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตามสมรรถนะที่จ าเป็นใน
การเข้าสู่อาชีพ และการน าผลการทดสอบไปใช้คัดเลือกเข้าท างาน ศึกษาต่อ ขอรับประกาศนียบัตรมาตรฐานสมรรถนะ
การใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) การขอรับคุณวุฒิบัตรสมรรถนะภาษาอังกฤษ (English Competency)
4.5 จัดตั้งศูนย์ให้ค าปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Startup) ภายใต้ศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ
และพัฒนาศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา เพื่อการส่งเสริม และพัฒนาผู้ประกอบการด้านอาชีพทั้งผู้เรียน
อาชีวศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยเชื่อมโยงกับ กศน. และสถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนที่สอดคล้องกับหาร
ประกอบอาชีพในวิถีชีวิตรูปแบบใหม่
4.6เพิ่มบทบาทการอาชีวศึกษาในการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการและก าลังแรงงานในภาคเกษตร
ั
ั
โดยเฉพาะกลุ่มเกษตรกรอจฉริยะ (Smart Farmer) และกลุ่มยุวเกษตรกรอจฉริยะ (Young Smart Farmer) ที่สามารถ
รองรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้
4.7 ส่งเสริม และสนับสนุนการผลิตและพัฒนาก าลังคนทุกช่วงวัยเพื่อการมีงานท า โดยบูรณาการความร่วมมือ
ในการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงาน องค์กรทั้งภาครัฐ เอกชน ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถานบันสังคมอื่น
4.8 พัฒนาหลักสูตรอาชีพส าหรับกลุ่มเป้าหมายผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนและประชาชนที่สอดคล้องมาตรฐาน
อาชีพ เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแหงชาติ รวมทั้งสามารถน าผลการ
่
เรียนรู้และมวลประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่การสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ได้
5. กำรส่งเสริมสนับสนุนวิชำชีพครู บุคลำกรทำงกำรศึกษำและบุคลำกรสังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร
5.1 ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะใหม่ Performance Appraisal (PA)
โดยใช้ระบบการประเมินต าแหน่งและวิทยฐานะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาระบบ Digital Appraisal
(DPA)
5.2 ส่งเสริมสนับสนุนการด าเนินการ พัฒนาสมรรถนะทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลตามกรอบระดับสมรรถนะ
ดิจิทัล (Digital Competency) ส าหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและระดับอาชีวศึกษา
5.3 พัฒนาครูใหมีความพรอมด้านวิชาการและทักษะการจัดการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมผ่าน
้
้
แพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ รวมทั้งใหเป็นผู้วางแผนเส้นทางการเรียนรู้ การประกอบอาชีพและการด าเนินชีวิตของผู้เรียน
ได้ตามความสนใจและความถนัดของแต่ละบุคคล