Page 19 - 1
P. 19

1 การจัดการอาชีวศึกษา                                                        13


                            คุณวุฒิการศึกษา           กรอบ          มาตรฐานอาชีวศึกษา
                                                      คุณวุฒิ    กรอบคุณวุฒิ    มาตรฐาน
                 ขั้นพื้นฐาน   อาชีวศึกษา   อุดมศึกษา
                                                      แห่งชาติ    วิชาชีพ      ฝีมือแรงงาน
                                          ปริญญาเอก   ระดับ 8   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 8
                                          ปริญญาโท    ระดับ 7   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 7
                           ปริญญาตรี (ทล.บ.)   ปริญญาตรี   ระดับ 6   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 6
                            ประกาศนียบัตร  อนุปริญญา   ระดับ 5   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 5  ระดับ 5 (มรช.3)
                           วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)      ระดับ 4   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 4  ระดับ 5 (มรช.2)
                 ม.ปลาย +   ประกาศนียบัตร
                                                      ระดับ 3   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 3  ระดับ 5 (มรช.1)
                 ทักษะอาชีพ   วิชาชีพ (ปวช.)
                 ม.ปลาย                               ระดับ 2   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 2   ระดับ 2
                 ม.ต้น +
                 ทักษะอาชีพ                           ระดับ 1   คุณวุฒิวิชาชีพชั้น 1   ระดับ 1


                   กลไกเชื่อมโยง/การเติมเต็ม เพื่อเทียบเคียง/เทียบโอนระหว่างคุณวุฒิการศึกษากับมาตรฐานอาชีพ
                        -  การทดสอบ วัด และประเมินผล
                        -  การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากการศึกษาในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย
                        -  การเทียบโอนประสบการณ์จากการทำงาน/การฝึกฝนและปฏิบัติจริงจากการทำงาน
                                   ่
                        -  การสะสมหนวยการเรียน (Credit Bank)
                        -  การศึกษาต่อเนื่อง/การศึกษาตลอดชีวิต


               ภาพที่ 6  แสดงการเชื่อมโยง/เทียบเคียงระดับการศึกษากับระดับคุณวุฒิวิชาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ


                   •  มาตรฐานการศึกษาของชาติ

                      มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 มีการกำหนดคุณธรรม ทักษะ และความรู้ที่จำเป็น
             บนฐานค่านิยมร่วม สู่กรอบผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา การจัดการศึกษาของชาติจะต้องทำให ้

             เกิดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นคุณลักษณะของผู้เรยนอนเป็นผลที่เกิดจากการจัดการศกษาตั้งแต่ระดับ
                                                        ั
                                                                                ึ
                                                    ี
             การศึกษาปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การอาชีวศึกษา จนถึงการอุดมศึกษา ทั้งนี้ สถานศึกษามีอิสระใน
                                                               ้
             การกำหนดแนวคิด ปรัชญาและวิสัยทัศน์ของการจัดการศกษา ใหเป็นอัตลักษณ์และสอดคล้องกับบริบท
                                                         ึ
             ของสถานศึกษาและตามความถนัดของผู้เรียน หน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการ
             สนับสนุน กำกับ ติดตาม ประเมินและพัฒนาคุณภาพของการจัดการศึกษา โดยมุ่งเน้นความรับผิดชอบ
             ที่ตรวจสอบได้ (accountability) มีระบบการบริหารจัดการทั้งด้านผู้บริหาร ครู คณาจารย์และบุคลากร
             หลักสูตรการเรียนการสอน สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา และการประเมิน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24