Page 94 - 2
P. 94

86                                                       2  การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ


                                     กรอบการเขียนรายละเอียดของรายวิชา



              รหัสวิชา             …………………. ชื่อวิชา …………………..                       ท-ป-น
                                   ……….. (ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ) ………..
                                   (ต้องผ่านรายวิชา ....................... ก่อน)


              จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้
                   1.  เข้าใจ …....................……………. (ด้านพุทธิพิสัย) ............................................................................
                   2.  สามารถ …................………..…. (ด้านทักษะพิสัย) ...........................................................................
                   3.  มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ .............. (ด้านจิตพิสัย) ................


              สมรรถนะรายวิชา
                   1.  แสดงความรู้เกี่ยวกับ ....…..................…………. (ด้านทักษะทางปัญญา) .........................................
                   2.  …… (ด้านทักษะปฏิบัติ + พฤติกรรมลักษณะนิสัย รูปแบบการเขียน : กริยา-กรรม-เงื่อนไข) ........
                   X.  …… (ด้านทักษะปฏิบัติ + พฤติกรรมลักษณะนิสัย รูปแบบการเขียน : กริยา-กรรม-เงื่อนไข) ........

              คำอธิบายรายวิชา

                   ศึกษาเกี่ยวกับ/ปฏิบัติเกี่ยวกับ/ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ .....................................................................
              ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
              …………………………………………………………………………………………………….. และ ...............................................



                      จากกรอบการเขียนรายละเอียดของรายวิชาข้างต้น สามารถสรุปแนวทางการเขียนในแต่ละ

             องค์ประกอบได้ดังนี้

                        3.1 การกำหนดรหัสวิชา


                            หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 และหลักสูตรประกาศนียบัตร
             วิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ได้กำหนดให้ใช้ตัวเลข 9 ตัว คั่นด้วยเครื่องหมาย - ระหว่างตัวเลขลำดับที่

             5 และ 6 พร้อมทั้งได้กำหนดความหมายของตัวเลขเพื่อเป็นเกณฑ์ในการกำหนดรหัสวิชาในหลักสูตร
             แต่ละระดับ ประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน ใช้ในการบริหารจัดการศึกษาของสถาบันการอาชีวศึกษา
             และสถานศึกษา ตลอดจนการบันทึกในหลักฐานการศึกษาของผู้เรียนด้วย ดังนั้นผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนา

             หลักสูตรและการนำหลักสูตรไปใช้จึงต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับการกำหนดรหัสวิชา
             ตามที่ได้กล่าวไว้ในหน้า 61-63
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99