Page 33 - 8
P. 33
ี
8 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาค 27
- จัดให้ผู้เรียนใช้เวลาเรียนและฝึกปฏิบัติทักษะพื้นฐานส่วนหนึ่งใน
สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และใช้เวลาฝึกปฏิบัติงานหรือ
ฝึกอาชีพในสถานประกอบการตามแผนการเรียนที่จัดทำร่วมกัน
- จัดแผนการเรียนให้ผู้เรียนได้รับการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ
ของแต่ละหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน หรือ 1 ปีการศึกษา
ลักษณะการจัดการเรียน - จัดให้มีครูนิเทศก์ไปนิเทศในสถานประกอบการ (ในประเทศ อย่าง
การสอนอาชีวศึกษา น้อย 3 ครั้ง/ภาคเรียน ต่างประเทศ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ภาคเรียน รวมทั้ง
ระบบทวิภาค ี ให้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและวิธีการนิเทศที่หลากหลายอย่าง
สม่ำเสมอ พร้อมทั้งรายงานผู้บริหารทราบ)
- สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันประเมินผลและให้
ระดับผลเรียนรายวิชาที่นำไปฝึกอาชีพของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ตามสภาพจริงและใช้วิธีการที่หลากหลาย ตามระเบียบ ศธ. ว่า
ด้วยการจัดการศึกษาและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร
แผนภาพที่ 2 แสดงแนวทางการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (ต่อ)
กระบวนการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
จุดเริ่มต้น
สถานประกอบการ สถานศึกษา/สถาบัน
ติดต่อสถานศึกษา เพื่อแจ้ง
- ความประสงค์/ความต้องการ
- ระดับ ปวช. / ปวส. /ปริญญาตรี • ผู้อำนวยการ
• เจ้าของกิจการ
• ผู้จัดการ - สาขางาน • รองผู้อำนวยการ ฝ่ายวิชาการ
- ลักษณะงานของสถานประกอบการ - หัวหน้าแผนกวิชา
• ฝ่ายบุคคล ี
• ฝ่ายฝึกอบรม เสนอสถานประกอบการ - หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาค
ี
• ฝ่ายพัฒนาทรัพยากร - แนวทางการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาค • รองผู้อำนวยการ ฝ่ายแผนงานฯ
- ประโยชน์ที่ได้รับของทุกฝ่าย - หัวหน้างานความร่วมมือ
- ระดับ ปวช./ปวส./ปริญญาตรี
- สาขางาน • ผู้ที่สถานศึกษา/สถาบันมอบหมาย
- ความพร้อมของสถานศึกษา
ึ
สนใจที่จะดำเนินการจัดอาชีวศกษาระบบทวิภาคีร่วมกัน
แผนภาพที่ 3 แสดงความพร้อมโดยภาพรวมในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี