Page 32 - 8
P. 32
26 8 การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาค ี
ี
- สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ได้แก่ หัวหน้างานอาชวศึกษา
ระบบทวิภาคี หัวหน้างานความร่วมมือ ครูที่ปรึกษา ครูนิเทศก์
บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดอาชีวศึกษา ครูผู้สอน (จำนวนครูวิชาชีพในแผนกไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 และต้อง
ได้รับการพัฒนาจากสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 80 ชม./คน/ป)
ระบบทวิภาค ี ี
- สถานประกอบการ ได้แก่ ผู้ควบคุมการฝึก ครูฝึก (จำนวนครูฝึก :
ผู้เรียน ระดับ ปวช. 1:10 คน ระดับ ปวส. 1:8 คน)
- มีพื้นความรู้และคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกำหนดของระเบียบ
กระทรวงศึกษาว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการ
เรียนตามหลักสูตรที่เข้าเรียน
- ผ่านการสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกตามคุณสมบัติและตามจำนวนที่
ผู้เรียนอาชีวศึกษา กำหนด โดยสถานประกอบการ สถานศึกษาหรือดำเนินการร่วมกัน
ระบบทวิภาค ี - ต้องทำสัญญาการฝึกอาชีพกับสถานประกอบการ
- ต้องเข้ารับการปฐมนิเทศก่อนการฝึกอาชีพและร่วมปัจฉิมนิเทศ
หลังเสร็จสิ้นการฝึกอาชีพ
- ต้องเข้ารับการฝึกอาชีพตามแผนและระยะเวลา พร้อมจัดทำ
บันทึกการฝึกอาชีพ คุณธรรม ฯลฯ ตามแบบที่กำหนด
สามารถดำเนินการได้ในทุกระดับหลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชาและ
หลักสูตรที่ใช้ในการจัด
อาชีวศึกษาระบบทวิภาค ี สาขางาน ที่ตรงกับลักษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่วยงานของรัฐที่ร่วมจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
- ให้ใชรายวิชาทวิภาคีในหมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะ
้
้
วิชาชีพเลือก (สาขางาน) ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร (ปวช. ไม่นอยกว่า
18 หน่วยกิต และ ปวส. ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต)
- สถานศึกษาและสถานประกอบการต้องร่วมกันจัดทำรายละเอียด
ของแต่ละรายวิชาให้สอดคล้องกับลักษณะงาน เหมาะสมกับระดับ
ของหลักสูตร สอดคล้องกับจุดประสงค์สาขาวิชา มาตรฐานการศึกษา
กลุ่มวิชาที่นำไปจัด วิชาชีพของสาขาวิชาและสาขางาน พร้อมทั้งรายงาน สอศ. ทราบ
การศึกษาระบบทวิภาค ี - สถานศึกษาและสถานประกอบการสามารถพิจารณานำรายวิชาอื่น
ี
ในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชพ
หมวดวิชาเลือกเสรี รวมทั้งกิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่ตรงกับ
ลักษณะงานไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการในภาคเรียนที่จัด
ฝึกอาชีพในระบบทวิภาคีด้วยได้
ี
- สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันจัดทำแผนการฝึกอาชพ
รายวิชาที่นำไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ
แผนภาพที่ 2 แสดงแนวทางการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี (ต่อ)