Page 41 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 41

บริการและผลผลิต (Service and Products : S )
                                                              2
                             ผู้เรียนบางส่วนมีปัญหาในด้านต่างๆ ท าให้ต้องออกกลางคัน
                         บุคลากร  (Man : M )
                                         1
                             ครูได้รับมอบหมายหน้าที่นอกเหนือจากการสอนมากเกินไป
                         ประสิทธิภาพทางการเงิน (Money  : M )
                                                       2
                             บางโครงการไม่มีงบประมาณสนับสนุนจึงไม่สามารถด าเนินโครงการได้
                             งบประมาณมีไม่เพียงพอต่อการสนับสนุนครุภัณฑ์ทางการศึกษา
                         วัสดุทรัพยากร  (Material : M )
                                                 3
                             มีจ านวนห้องเรียนไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
                             วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และสื่อเทคโนโลยีการศึกษาบางรายการขาดการบ ารุงรักษาอย่างต่อเนื่อง

                             ระบบเครือข่ายสัญญาณไร้สายไม่เพียงพอต่อจ านวนผู้ใช้บริการ
                             ระบบกล้องวงจรปิดบางส่วนช ารุด ไม่สามารถใช้งานได้
                             มีอุปกรณ์และครุภัณฑ์ทางการศึกษาไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน

                         การบริหารจัดการ  (Management : M )
                                                        4
                             ระบบการเสนอเอกสารเพื่อลงนามมีหลายขั้นตอนและใช้เวลานานท าให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าชา
                                                                                                     ้
                             ระบบการจัดซื้อ/จัดจ้างมีหลายขั้นตอนท าให้การปฏิบัติงานเกิดความล่าช้า
                       โอกาส (Opportunities)

                         ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social – cultural Factors : S)

                             วิทยาลัยตั้งอยู่ในแหล่งของชุมชน ท าให้ได้รับความสะดวกสบายในการคมนาคมและสาธารณูปโภคต่างๆ
                             ประชาชนให้ความส าคัญทางด้านการศึกษาท าให้อัตราการเข้าเรียนและเรียนต่ออยู่ในระดับสูง
                                                                                  ์
                             ผู้ปกครองและชุมชนภายนอกเขตเมือง มีความเชื่อมั่น และเห็นประโยชนจากการเรียนด้านอาชีวศึกษา
                         ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors : T)
                             ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลให้การจัดการศึกษามีรูปแบบหลากหลาย สะดวกรวดเร็วมากขึ้น

                             เทคโนโลยีช่วยสนับสนุนให้ครูสามารถพัฒนาตนเอง สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมได้มากขึ้น
                             เทคโนโลยีช่วยให้การสื่อสารระหว่างวิทยาลัยกับผู้เรียน ผู้ปกครอง และชุมชน สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
                         ด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors : E)

                             กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) เป็นปัจจัยส าคัญต่อการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา

                             สถานประกอบการและชุมชนช่วยสนับสนุนให้ทุนการศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนมีโอกาสศึกษามากขึ้น
                             ค่าเล่าเรียนของสถานศึกษาไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับสถานศึกษาเอกชน
                         ด้านการเมืองและกฎหมาย  (Political and legal Factors : P)

                             นโยบายเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพของรัฐบาลมีส่วนช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองท าให้ผู้เรียนมีโอกาส
                              ศึกษามากขึ้น

                             รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมการจัดการศึกษาสายอาชีพ





                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567    หน้า | 37
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46