Page 42 - แผนพัฒนาการจัดการศึกษา พ.ศ. 2565-2567
P. 42

อุปสรรค (Threat)

                         ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social – cultural Factors : S)
                             ผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาด้านสภาพครอบครัวที่แตกแยก ส่งผลให้ขาดการดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครอง ท าให้มี
                              พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม

                             สถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ส่งผลกระทบต่อการเรียนในภาคปฏิบัติ
                             สภาพสังคมในปัจจุบันส่งผลให้ผู้เรียนขาดความรับผิดชอบและอดทนในการเรียนภาคปฏิบัติ

                             การเปลี่ยนแปลงเป็นสังคมบริโภคนิยมตามยุคโลกาภิวัตน์ ส่งผลให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์
                         ด้านเทคโนโลยี (Technological Factors : T)

                             ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีส่งผลให้วัสดุอุปกรณ์ที่รองรับเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ต้องใช ้
                              งบประมาณจ านวนมาก
                             สื่อและเทคโนโลยีน าเสนอค่านิยมและวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสมส่งผลให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์

                             ผู้เรียนขาดวิจารณญาณในการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม และผู้ปกครองขาดความรู้ ทักษะ และ
                              ความสามารถในการแนะน าแก่บุตรหลาน
                         ด้านเศรษฐกิจ (Economic Factors : E)

                             สถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ส่งผลท าให้ผู้ปกครองมีรายได้ลดลง
                             ผู้เรียนส่วนใหญ่มีฐานะทางครอบครัวที่ยากจนท าให้ต้องหารายได้ระหว่างเรียน

                             สภาพเศรษฐกิจปัจจุบันท าให้ผู้เรียนต้องออกกลางคันเพื่อไปประกอบอาชีพ
                             ชุมชนส่วนใหญ่เป็นภาคการเกษตร มีรายได้ต่ าส่งผลกระทบต่อการระดมทรัพยากรเพื่อจัดการศึกษา
                             ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้น้อย ไม่สามารถสนับสนุนด้านอุปกรณ์การเรียนที่ทันสมัยให้แกผู้เรียน
                                                                                                  ่
                         ด้านการเมืองและกฎหมาย  (Political and legal Factors : P)

                             การเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านการศึกษาของรัฐบ่อยครั้ง ท าให้การพัฒนาขาดความต่อเนื่อง และเกิดความ
                              สับสนในทางปฏิบัติ
                             การจัดสรรงบประมาณจากต้นสังกัดล่าช้า ส่งผลต่อการปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนและขาดความต่อเนื่อง




















                               แผนพัฒนาการจัดการศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี พ.ศ. 2565 – 2567    หน้า | 38
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47