Page 35 - 10
P. 35
10 การประกันคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 27
3. กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ควร
ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1 การกำหนดวัตถุประสงค์ของการประเมิน
3.2 การกำหนดผู้รับผิดชอบในการประเมิน
3.3 การกำหนดแผนการดำเนินงานประเมิน
4. วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและการจัดการเรียนการ
สอน ประกอบด้วย
4.1 การสรางเครื่องมือ จะตองพิจารณาวาวัตถุประสงคของการประเมินแต่ละข้อมี
ประเด็นสําคัญ/ตัวบงชี้ใด ตองการขอมูลอะไรบาง และควรเก็บขอมูลจากแหลงใด เพื่อนํามาสรางขอ
คําถามอยางเฉพาะเจาะจง โดยควรมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือกอนนําไปใชจริง
4.2 การเก็บรวบรวมขอมูล จะต้องกําหนดแผนงานให้ชัดเจนวาจะเก็บขอมูลจากใคร
ที่ไหน เมื่อไร และจะใชเทคนิคอะไรในการเก็บรวบรวมขอมูลจึงจะไดรับความรวมมือที่ดี ทั้งนี้ ควรใช
เทคนิคหลายวิธีและรวบรวมข้อมูลจากหลายแหลงเพื่อใชพิจารณาประกอบกัน เทคนิคที่สามารถนํามาใช
ในการเก็บรวบรวมขอมูล เชน การสอบถาม การสัมภาษณ การทดสอบ การสังเกต การประชุมกลุ
มสนทนา การบันทึกขอมูลที่มีอยูแลว เป็นต้น
4.3 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณสามารถนํามาคํานวณคาสถิติ
ตาง ๆ ตามลักษณะของขอมูล เช่น ความถี่ ร้อยละ สัดส่วน อัตราส่วน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
สัมประสิทธิ์การกระจาย เป็นต้น แล้วนำค่าที่ได้จากการวิเคราะหมาเปรียบเทียบกับเกณฑการประเมิน
์
เพื่อตัดสินคุณภาพของหลักสูตร ส่วนการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพสามารถทําการวิเคราะหโดยใช
เทคนิคการวิเคราะหเนื้อหา การแปลผลหรือการตีความหมาย แต่การตัดสินคุณภาพจะมีความซับซอน
เพราะตองอาศัยดุลยพินิิจอยางมีวิจารณญาณและหลักตรรกะประกอบการตัดสินคุณภาพ
ี่
5. การรายงานผลการประเมินหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหผูเกยวของได้รับ
้
สารสนเทศที่เปนประโยชนสําหรับนำไปใชปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มี
ผลลัพธเปนที่พึงพอใจของผู้เรียน ผูสอน ผู้สำเร็จการศึกษา ผูใช้ผลผลิตและสังคมภายนอก ซึ่งรูปแบบ
การเขยนรายงานการประเมิน สามารถกระทําได 2 ลักษณะ คือ
ี
5.1 รายงานสรุปสำหรับผูบริหาร เปนรายงานการประเมินแบบสรุปที่สั้น กะทัดรัด ปกติมี
ความยาว 1-3 หนา ใหสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร มักประกอบด้วยส่วนสําคัญ
3 สวน ได้แก่ วัตถุประสงคของการประเมิน ผลการประเมิน และขอเสนอแนะ