Page 47 - 7
P. 47
38 7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา
3. การเขียนแบบทดสอบแบบความเรียง
3.1 เขียนคำชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการตอบใหชัดเจน ระบุจำนวนข้อคำถาม เวลาที่ใช้สอบและ
้
คะแนนเต็มของแต่ละข้อ เพื่อให้ผู้ตอบสามารถวางแผนการตอบได้ถูกต้อง
3.2 ข้อคำถามต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ตอบ
3.3 ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญและเป็นเรื่องที่แบบทดสอบปรนัยวัดได้ ควรถามเกี่ยวกับ
การนำไปใช้ การวิเคราะห การสังเคราะห ความคิดสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเหน การวิพากษ์
์
์
็
วิจารณ์ เป็นต้น
3.4 สถานการณ์ในข้อคำถามจะต้องมีข้อมูลเพียงพอและจำเป็นต่อการตอบคำถาม
รวมทั้งมีความชัดเจน และเหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.5 ข้อคำถามต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ มีความชัดเจน และสอดคล้องกับตัวชี้วัด
และพฤติกรรมที่ต้องการวัด
3.6 ข้อคำถามต้องเปิดโอกาสใหอธิบายวิธีคิด แสดงวิธีทำ หรือใหเหตุผลเพื่อสนับสนุน
้
้
คำตอบ
้
้
3.7 กำหนดขอบเขตหรือประเด็นของคำถามใหชัดเจนเพื่อใหผู้ตอบทราบถึงจุดมุ่งหมาย
ในการวัด สามารถตอบได้ตรงประเด็น
้
้
3.8 เขียนคำถามใหมีจำนวนมากข้อ โดยจำกัดใหตอบสั้น ๆ เพื่อจะได้วัดได้ครอบคลุม
เนื้อหา ซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง
้
3.9 ไม่ควรมีข้อสอบไว้ใหเลือกตอบเป็นบางข้อ เพราะอาจมีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน
เนื่องจากแต่ละข้อคำถามจะมีความยากง่ายไม่เท่ากัน และวัดเนื้อหาแตกต่างกัน จะไม่ยุติธรรมกับผู้ที่
สามารถตอบได้ทุกข้อ
3.10 ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การใหคะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนัก
้
ที่ต้องการเน้นไว้ด้วย
3.11 ถ้าแบบทดสอบมีหลายข้อ ควรเรียงลำดับจากข้อง่ายไปหายาก
3.12 การกำหนดเวลาในการสอบ จะต้องสอดคล้องกับความยาวและลักษณะคำตอบ
ที่ต้องการ ระดับความยากง่ายและจำนวนข้อสอบ
ื
• การสร้างเครื่องมอประเมินด้านทักษะ (ภาคปฏิบัติ)
การวัดความสามารถในการปฏิบัติงานขึ้นอยู่กับลักษณะของแต่ละประเภทวิชา แบ่งเป็น
ลักษณะต่าง ๆ ได้ 5 ลักษณะ คือ