Page 27 - 2
P. 27
2 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ 19
คุณภาพ ระดับ ปวช. ระดับ ปวส.
ด้านความร ู้ ความรู้ในหลักการทั่วไปของงานอาชีพเฉพาะ ความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใต้
และการวิเคราะห์เบื้องต้น รวมทั้งมีความรู้ ขอบเขตของงานอาชีพ รวมทั้งความรู้
ี่
ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศท ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สามารถใช้ในการสื่อสารเบื้องต้นได้ สื่อสารในระดับที่เชื่อมโยงกับการทำงาน
ด้านทักษะ ทักษะการเลือกและประยุกต์ใช้วิธีการ ทักษะในการปรับใช้กระบวนการปฏิบัติ งาน
เครื่องมือและวัสดุขั้นพื้นฐานในการปฏิบัติงาน ให้เหมาะสม ทักษะด้านความปลอดภัยท ี่
ั
ทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เชื่อมโยงกันในการทางานทหลากหลาย ทกษะ
ี่
ิ
ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคด การเรียนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการคิดวิเคราะห์
วิเคราะห์และการแก้ปัญหา และทักษะด้าน และการแก้ปัญหา ทักษะในการวางแผน การ
สุขภาวะและความปลอดภัย บริหารจัดการ การประสานงาน และการ
ิ
ประเมินผลในการปฏิบัตงานด้วยตนเอง
ด้านความสามารถ สามารถปฏิบัติงานตามแบบแผน ปรับตัวกับ สามารถปฏิบัติงานตามแบบแผน และ
ในการประยุกต์ใช้ การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ซับซ้อน ให้คำแนะนำ ปรับตัวภายใต้ความเปลี่ยนแปลง สามารถ
และความ พื้นฐานที่ต้องใช้การตัดสินใจ วางแผนและ แก้ปัญหาที่ไม่คุ้นเคยหรือซับซ้อนและเป็น
รับผิดชอบ แก้ไขปัญหาโดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมใน นามธรรมเป็นบางครั้ง
บางเรื่อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะทาง
วิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร ในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงาน
ในบริบทใหม่ รวมทั้งรับผิดชอบต่อตนเอง
และผู้อื่น
• ภารกิจ/กิจกรรมในการพฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษา
ั
จากคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาแต่ละระดับข้างต้น คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรของ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้นำไปพิจารณาร่วมกับมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐาน
สมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานจริงในงานอาชีพ กำหนดเป็นกรอบมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพแกนกลางของ
สาขาวิชาและสาขางานตามระดับคุณวุฒิ เพื่อกำหนดรายวิชาที่ผู้เรียนจะต้องศึกษาและฝึกปฏิบัติตาม
โครงสร้างหลักสูตรแต่ละประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน และนำไปจัดการเรียนการสอนต่อไป ทั้งนี้
การพัฒนาหลักสูตรระดับสาขาวิชาและสาขางานเพิ่มเติมก็ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน
การศึกษาวิชาชีพแกนกลางดังกล่าว ส่วนการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาในส่วนที่อนุญาตให้พัฒนาเพิ่มเติม
ได้ก็จะต้องยึดโยงตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้องด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้คุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชา
สาขางานของระดับคุณวุฒิเดียวกันมีมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ โดยมีภารกิจหรือกิจกรรมหลักที่ต้อง
ดำเนินการ ดังนี้