Page 19 - 7
P. 19
10 7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา
6.3 การประชุมสัมมนา
6.4 เหตุการณ์หรองานพิเศษ
ื
6.5 เวลาใดเวลาหนึ่งของวันหรือวันใดวันหนึ่งของสัปดาห ์
7. การบันทึกข้อมูลในการประเมินและจัดการประมวลผล
7.1 การบันทึกข้อมูล ได้แก ข้อมูลรายการกระบวนการปฏิบัติงานของผู้เรยน ข้อมูลตาม
่
ี
รายการในข้อที่ 3
7.2 การประมวลผล โดยการประมวลสถิติเบื้องต้นหรือสถิติวิเคราะห การประมวลด้วย
์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรมแกรม SPSS
8. เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน โดยพิจารณาจาก
8.1 จุดประสงค์การเรียนรู้จากหลักสูตร
8.2 เกณฑ์มาตรฐานรายวิชาหรือสมรรถนะรายวิชา
• ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินตามสภาพจริงแบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การประเมินอย่างเป็นทางการ
เป็นการประเมินความสามารถภาคทฤษฎี เครื่องมือที่ใช้ส่วนมากเป็นแบบทดสอบที่สร้างขึ้น
และได้มีการทดลองใช้จนเป็นที่เชื่อถือได้ เรียกว่า “ข้อสอบมาตรฐาน” เพื่อใช้ในการวัดความสามารถ
ทางวิชาการ วัดความถนัด วัดความพร้อมต่าง ๆ วัดกระบวนการคิด เป็นต้น
2. การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ
เป็นการประเมินความสามารถภาคปฏิบัติ ที่เน้นทักษะความสามารถในการทำงานของ
ผู้เรียนตามสภาพเป็นจริง เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินส่วนใหญ่เป็นแบบประเมินแบบมาตรประมาณค่า
แบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินรายบุคคล โดยจะดำเนินการประเมิน 3 ด้าน คือ
2.1 บุคลิกภาพ (Performance) แยกออกได้เป็น
2.1.1 ทักษะการทำงาน
2.1.2 จิตพิสัยและกิจนิสัยการทำงาน
2.2 กระบวนการ (Process) เป็นการประเมินขั้นตอนการปฏิบัติงาน
2.3 ผลผลิต (Products) เป็นการประเมินชิ้นงานที่ได้จากการปฏิบัติงานหรือผลสำเรจจาก
็
การปฏิบัติงานตามภาระงานที่ได้รับมอบ