Page 22 - 7
P. 22
7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา 13
ตัวอย่างการออกแบบกิจกรรม
- สอนทฤษฎี
- สอนปฏิบัติ
- ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามใบช่วยสอน
รายละเอียด - สอนทฤษฎี + ปฏิบัติ
ของรายวิชา - ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามใบช่วยสอน
- ผู้เรียนทดลองปฏิบัติ
- ผู้สอน + ผู้เรียนร่วมสรุปทฤษฎี
- ผู้เรียนลงมือปฏิบัติตามใบช่วยสอน
ขั้นที่ 2 กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้สอนต้องวางแผนการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยพิจารณาจากจุดประสงค์
รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคำอธิบายรายวิชา รวมทั้งวัสดุอุปกรณ์ สถานที่และท้องถิ่นที่สถานศึกษา
ตั้งอยู่ เพื่อตัดสินใจว่าจะสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้อย่างไร มีภาระงานอะไรบ้าง
ที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ มีชิ้นงานกี่ชิ้นที่ผู้เรียนต้องส่งใหกับผู้สอนเมื่อเสร็จสิ้นการเรียนการสอน ทั้งนี้ ต้อง
้
ครอบคลุมพฤติกรรมการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน (ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัยและด้านจิตพิสัย)
ี
การกำหนดกิจกรรมการเรยนการสอนต้องสอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการประเมินในรายวิชานั้น
ซึ่งจากตัวอย่าง มีสิ่งที่ต้องประเมิน 3 หัวข้อ กิจกรรมการเรียนการสอนจึงควรเป็นดังนี้
้
- ดำเนินการสอนทฤษฎีก่อนทีละเรื่อง เมื่อจบทฤษฎีแล้วใหลงมือปฏิบัติสลับกันไปจนครบ
ตามหลักสูตร หรือ
้
- จัดการเรียนการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อมกัน โดยผู้สอนอาจใช้วิธีใหความรู้ด้วย
ทฤษฎีหัวงาน และให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทีละขั้นตอนตามใบช่วยสอนที่กำหนด เมื่อผู้เรียนปฏิบัติครบตาม
ขั้นตอนทุกขั้นตอนแล้วผู้สอนจึงสรุปและเพิ่มความรู้เรื่องทฤษฎีให้ครบทุกรายละเอียด หรือ
้
ั
- ใหผู้เรียนทดลองปฏิบัติเพื่อเรยนรู้จากการลองผิดลองถูกในเรื่องที่ไม่มีอนตราย จากนั้นจึง
ี
นำผลการเรียนรู้มาสรุปร่วมกับผู้สอนในลักษณะของการปฏิบัตินำสู่ทฤษฎี จากนั้นจึงใหผู้เรียนลงมือ
้
ปฏิบัติอีกครั้งตามใบช่วยสอน