Page 27 - 7
P. 27

18                                                     7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา


                      1. สมรรถนะที่คาดหวัง


                        สมรรถนะที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติได้ ประกอบด้วย
                        1.1 หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competence / Competency) เป็นขอบข่ายกว้าง ๆ (Broad
             Area) ของงาน (Job) ในอาชีพหนึ่ง ๆ ที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติโดยใช้ความรู้ ทักษะและหรือเจตคติ

                        1.2 สมรรถนะย่อย (Element of Competence) เป็นภาระงานย่อย (Task) ที่ประกอบ
             ขึ้นภายใต้งานในหน่วยสมรรถนะนั้น ๆ

                        1.3 เกณฑ์การปฏิบัติ (Performance Criteria) เป็นกิจกรรมย่อย ๆ (Sub-task) ภายใต้
             สมรรถนะย่อย ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ที่คาดหวังว่าผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติได้

             เมื่อเรียนจบหลักสูตร ดังนั้นการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหน่วยสมรรถนะต้องกำหนด
             ในส่วนของสมรรถนะแกนกลาง จะเป็น “ตัวบ่งชี้การปฏิบัติ”

                            จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance Objective) หรือจุดประสงค์การเรียนรู้

             กำหนดใหมีความรู้และการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะ สามารถปฏิบัติงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด
                    ้

                            การประเมินผลต้องสอดคล้องกับเกณฑ์การปฏิบัติจึงจะเกิดการเรียนการสอนและ
             การประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ เพราะใช้สมรรถนะเป็นตัวกำหนดตั้งแต่การจัดการเรียนการสอน

                                                                       ่
             จนถึงการประเมินผล การประเมินผลสามารถใช้รูปแบบที่หลากหลาย ได้แก การสังเกต (Observation)
             การสาธิตและตั้งคำถาม (Demonstration and questioning) แบบทดสอบ (Paper and Pencil Test) และ

             แบบทดสอบอตนัย (Essays Test) ใช้ประเมินด้านความรู้ การสอบปากเปล่า (Oral Test) การทำโครงงาน
                        ั
             (Projects) สถานการณ์จำลอง (Simulations) แฟ้มผลงาน (Portfolios) การประเมินผลโดยการใช้

             คอมพิวเตอร์ (Computer-based assessment) ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเป็นเครื่องมือในการสร้างแบบทดสอบ
             และบันทึกผลได้

                        1.4 เงื่อนไข/ขอบเขตการปฏิบัติ (Conditions /Range of Variables) การปฏิบัติ
             ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดรวมถึงวัสดุ (Materials) เครื่องมือ (Tools) หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ (Equipment) ที่

                    ้
                             ้
             กำหนดให (หรือไม่ให) เพื่อให้การปฏิบัติงานนั้นสำเร็จ

                        หน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย เกณฑ์การปฏิบัติ การวางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน
             และการประเมินผล มีความสัมพันธ์สอดคล้องกันอย่างต่อเนื่อง ผู้สอนสามารถศกษาลักษณะเฉพาะของ
                                                                          ึ
                                                   ์
             ภาระงาน (Task Characteristics) โดยการวิเคราะหหน้าที่ในงาน/หน่วยสมรรถนะ (Unit of Competency)
             ซึ่งจะมีองค์ประกอบ 3 ด้าน คือ ความรู้ ทักษะและ/หรือเจตคติ และมีภาระงานย่อย (Element of

             Competency) ที่กำหนดให้ปฏิบัติเป็นจุดประสงค์ของการปฏิบัติงาน (Performance Objective) เช่น
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32