Page 30 - 7
P. 30
7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา 21
ิ
5.2 ประเมินด้วยการองเกณฑ์ (Criterion Referenced) วัดความสำเร็จในการปฏิบัติ
ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อใหผู้เรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพตามความสามารถโดยไม่ต้อง
้
เปรียบเทียบกับผู้อื่นและตัดสินแบบอิงกลุ่ม
5.3 ประเมินสมรรถนะที่สำคัญ (Crucial outcomes) ก่อน เพราะผลการเรียนรู้/การ
ี
ปฏิบัติของทุกสมรรถนะมีความสำคัญไม่เท่ากัน บางสมรรถนะอาจมีความสำคัญกว่าอกสมรรถนะหนึ่ง
ที่ครูผู้สอนจำเป็นต้องตั้งข้อจำกัดในการเรียนรู้และการประเมินผล
5.4 บูรณาการสมรรถนะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน ไม่ประเมินแยกตามหน่วย
สมรรถนะหรือหน่วยสมรรถนะย่อยออกจากกันแม้ว่ากรอบมาตรฐานสมรรถนะจะกำหนดแยกเป็นหน่วย
สมรรถนะสมรรถนะย่อยและตัวบ่งชี้ ไม่ได้หมายความว่าผู้สอนจะต้องสอนหรือประเมินผลแยกแต่ละ
สมรรถนะเพราะในการจัดเนื้อหาการสอนแต่ละหน่วยอาจต้องเกี่ยวข้องกับสมรรถนะต่าง ๆ ที่มี
ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องหรือต่อเนื่องกันโดยใช้วิธีการประเมินที่หลากหลาย เช่น
• การสังเกต (Observation) ใช้แบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ซึ่งจะกำหนด
รายละเอียดในการสังเกตไว้ในแบบ
• การสาธิตและตั้งคำถาม (Demonstration and questioning)
ั
• แบบทดสอบที่มีความเป็นปรนัยและแบบทดสอบอตนัย (Pen and Paper Test
and Essays test) ใช้ประเมินด้านความรู้
• การสอบปากเปล่า (Oral Test)
• การทำโครงงาน (Projects)
• สถานการณ์จำลอง (Simulations)
• แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolios)
• การประเมินผลโดยการใช้คอมพิวเตอร์ (Computer-based assessment)
เป็นเครื่องมือในการสร้างแบบทดสอบและบันทึกผลได้